โรงเรียนบ้านงิ้ว
ินดีต้อนรับเข้าสู่โรงเรียนบ้านงิ้ว
โครงการส้วมสุขสันต์
คำขวัญ
ปรัชญา
ปณิธาน
โครงงานคุณธรรม
(๑)    ชื่อโครงงาน  เด็กดี   V STAR  
(๒)    กลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน  และสถานศึกษา
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม                 ตำแหน่ง         ชั้นเรียน
เด็กหญิง
ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านงิ้ว  ตำบลบ้านขาม  อำเภอจัตุรัส  จังหวัดชัยภูมิ  36130
โทรศัพท์ 044875255    E-mail   Banngew@hotmail.com
เวบไซต์สถานศึกษา                     (ถ้ามี)
(๓)    ที่ปรึกษาโครงงาน
ชื่อ-นามสกุล  นายวสันต์  เกิดสิน ตำแหน่ง  โทรศัพท์และ E-mail 
(๔)    วัตถุประสงค์
        1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลมหาราชเนื่องในวโรกาสพระชนมายุครบ  80  พรรษา
        2.  เพื่อปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและชักชวน ให้เพื่อนในโรงเรียนในการทำความดี
        3.  เพื่อเผยแพร่ความดีที่ทำที่โรงเรียนไปสู่ชุมชน
(๕)     สถานที่และกำหนดระยะเวลาดำเนินการ
ระยะที่ ๑      เดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒
ระยะที่ ๒   เดือน ตุลาคม ๒๕๕๒ - มกราคม ๒๕๕๓
(๖)    ผังมโนทัศน์
สรุปภาพรวมของร่างโครงงานทั้งหมดเป็นผังมโนทัศน์ ใน ๑ หน้ากระดาษ
(๗)    สาระสำคัญของโครงงาน  (คำอธิบายสาระสำคัญของโครงงานโดยย่อ ๕ - ๑๐ บรรทัด)

(๘)     การศึกษาวิเคราะห์ 
(๘.๑)    ปัญหาและสาเหตุ  (ประมวลข้อมูลสภาพปัญหา แล้ววิเคราะห์สืบสาวหาสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา เพื่อให้เห็นที่มาและความสำคัญของโครงงาน)
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
(๘.๒)    เป้าหมายและทางแก้ (วางเป้าหมายของการแก้ปัญหาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ)
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(๘.๓)    หลักการและหลักธรรมที่นำมาใช้ (แสดงหลักธรรมและแนวพระราชดำริ หรือหลักวิชาการต่างๆ ที่นำมาใช้ พร้อมอธิบายความหมายโดยย่อ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับการดำเนินการโครงงาน อย่างสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล)
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(๙)    วิธีการดำเนินงาน (แสดงวิธีการดำเนินงานเป็นข้อๆ หรือเป็นแผนผังที่มีคำอธิบายที่ชัดเจน)
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(๑๐)     งบประมาณและแหล่งที่มาของงบประมาณ  (แสดงงบประมาณโครงงานและแหล่งที่มา หากมีการระดมทุนเพิ่ม ให้บอกแผนงานหรือวิธีการระดมทุนด้วย)
.............................................................................................................................................
(๑๑) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลโดยตรงและผลกระทบที่ต่อเนื่องออกไป)
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(๑๒) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(๑๓) ความคิดเห็นและความรู้สึกของประธานกลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน 
คำแนะนำเพิ่มเติม (Tip)
    ในการจัดทำร่างโครงงานที่ดีนั้น ในหัวข้อการศึกษาวิเคราะห์เป็นหัวใจสำคัญ โดยเฉพาะการวิเคราะห์ถึงปัญหาและสาเหตุ ควรมีข้อมูลสถิติ หรือสภาพการณ์ที่ได้มาจากการสำรวจสังเกตจริง มาประกอบอ้างอิง จะทำให้มีน้ำหนักน่าเชื่อถือ  ยิ่งถ้าเป็นข้อมูลสถิติจากพื้นที่เป้าหมายจริงๆ ก็จะทำให้คะแนนการประเมินความเป็นไปได้ของร่างโครงงานดีขึ้น

ขั้นตอนที่ ๔    การดำเนินการโครงงาน
    การดำเนินการโครงงานแบ่งออกเป็น ๒ ระยะ ดังนี้
    - ระยะที่ ๑ บุกเบิก-ทดลอง ช่วงเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒
    - ระยะที่ ๒ ตอกย้ำ-ขยายผล ช่วงเดือน ตุลาคม ๒๕๕๒ - มกราคม ๒๕๕๓
   
คำแนะนำเพิ่มเติม (Tip)
   
โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ
เรื่อง  เด็กดี  V  STAR
กลุ่ม
ทำดีไม่ต้องเดี๋ยว

โรงเรียนบ้านงิ้ว
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ  เขต  3
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๒ ระดับประถมศึกษา ที่จัดโดย กลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสร้างเครือข่ายวิถีพุทธ (กคพ.) )
โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ
เรื่อง  เด็กดี  V  STAR
กลุ่ม
ทำดีไม่ต้องเดี๋ยว
สมาชิกกลุ่ม
๑. เด็กหญิง  ฤทัยรัตน์  ครุฑแก้ว    ป.๕     ประธาน
๒.เด็กหญิง  ปาณิศา  ชวดชัยภูมิ    ป.๕          รองประธาน
๓.เด็กหญิง  ไอริน  กลัดงิ้ว    ป.๕     รองประธาน
๔.เด็กหญิง  อภัสรา  โชติราษี    ป.๕           เลขานุการ
๕.เด็กหญิง  พรพรรณ  ศรีแย้ม    ป.๔     เหรัญญิก
๖.เด็กหญิง  อุไรลักษณ์  บุญเชิด    ป.๔     เหรัญญิก
๗.เด็กหญิง  ฤทัยรัตน์  ครุฑแก้ว    ป.๔     ประชาสัมพันธ์
๘.เด็กหญิง  อัญชณากร  เอี่ยมนัยตา    ป.๔     ประชาสัมพันธ์
๙. เด็กชาย  ภีรภัทร  เหล็กมา    ป.๔     สวัสดิการ
๑๐. เด็กชาย  นพณัฐ  เขียนจัตุรัส    ป.๔     สวัสดิการ
พระสงฆ์ที่ปรึกษา : พระครูมนูญปัญญาภินันท์   เจ้าอาวาสวัดเลียบน้ำไหล  บ้านงิ้ว
ผู้บริหารที่ปรึกษา  : นายมณีแสง  นามอินทร์   ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านงิ้ว
ครูที่ปรึกษา : นายวสันต์  เกิดสิน

โรงเรียนบ้านงิ้ว
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ  เขต  3

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๒ ระดับประถมศึกษา ที่จัดโดย กลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสร้างเครือข่ายวิถีพุทธ (กคพ.) )
    กิตติกรรมประกาศ
แสดงการขอบคุณบุคคล คณะ องค์กรต่างๆ ที่สนับสนุนการทำโครงงาน เป็นต้น)
บทคัดย่อ
(สรุปย่อเนื้อหาและประเด็นสำคัญของโครงงานเป็นความเรียงใน ๑ หน้ากระดาษ)
ผังมโนทัศน์
(สรุปภาพรวมของโครงงานทั้งหมดเป็นผังมโนทัศน์ ใน ๑ หน้ากระดาษ)
บทที่ ๑ บทนำ
๑.๑ ที่มาและความสำคัญ (อธิบายความเป็นมา แรงบันดาลใจ หรือเหตุผล ที่ทำให้คิดทำโครงงานขึ้น)
    คนทำความดีมีน้อย  โดยเฉพาะเด็ก ๆ นักเรียนบางคน  แอบสูบบุหรี่  และมีพี่นักเรียนมัธยมบางคนชอบดื่มสุราตอน  ทำเป็นตัวอย่างไม่ดี  เมื่อได้ไปที่วัดพระธรรมกายแล้ว  เห็นพี่  วีไกด์   น่ารัก  อยากทำดี  ตาม  จึงได้ช่วยกันทำความดี  เมื่อทำดีแล้วเกิดความภาคภูมิ ใจ  จึงได้บอกเพื่อน ๆ ให้มาทำความดี เพื่อเป็นตัวอย่างต่อไป
๑.๒ วัตถุประสงค์ (แสดงจุดมุ่งหมายของการทำโครงงาน เป็นรายข้อ ไม่ควรเกิน ๕ ข้อ)
            1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลมหาราชเนื่องในวโรกาสพระชนมายุครบ  80  พรรษา
        2.  เพื่อปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและชักชวน ให้เพื่อนในโรงเรียนในการทำความดี
        3.  เพื่อเผยแพร่ความดีที่ทำที่โรงเรียนไปสู่ชุมชน
๑.๓ ขอบเขตการศึกษาเรียนรู้ (ระบุ กลุ่มเป้าหมาย กำหนดระยะเวลาและสถานที่ ในการดำเนินการโครงงาน)
(๖)    บทที่ ๒ การดำเนินการโครงงาน
๒.๑ วิธีการดำเนินงาน (อธิบายวิธีการดำเนินงาน, แสดงแผนผังขั้นตอนการดำเนินงาน ,แสดงปฏิทินหรือกำหนดการดำเนินงาน และ/หรือ มีรูปภาพประกอบ)
๒.๒ งบประมาณ (แสดงรายการค่าใช้จ่ายโดยแยกเป็นรายหมวดและยอดรวม)
๒.๓ แหล่งที่มาของงบประมาณ (กรณีที่มีการระดมทุนหรือหางบประมาณเพิ่มเติมขึ้นเอง ให้อธิบายถึงวิธีการระดมทุนหรือการเข้าถึงแหล่งงบประมาณนั้นโดยย่อด้วย)
๒.๔ อุปสรรคความผิดพลาดและการแก้ปัญหา (อธิบายถึงอุปสรรคปัญหาหรือข้อขัดข้องต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดำเนินการโครงงาน และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แล้วสรุปเป็นบทเรียนที่ได้จากการเผชิญปัญหานั้นๆ)
บทที่ ๓ ผลการดำเนินงาน
(แสดงผลการดำเนินงานโดยการอธิบายพร้อม รูปภาพ และ/หรือ มีสถิติ ตาราง หรือแผนภูมิ ประกอบ)
(๘)    บทที่ ๔ การศึกษาวิเคราะห์
๔.๑    ปัญหาและสาเหตุ  (ประมวลข้อมูลสภาพปัญหา แล้ววิเคราะห์สืบสาวหาสาเหตุของปัญหา)
๔.๒    เป้าหมายและทางแก้ (วิเคราะห์เชื่อมโยงเป้าหมายของโครงงานกับวิธีการดำเนินงาน ว่าเป็นหนทางไปสู่เป้าหมายที่วางไว้อย่างไร อย่างเป็นเหตุเป็นผล)
๔.๓     หลักการและหลักธรรมที่นำมาใช้ (แสดงหลักธรรมและแนวพระราชดำริ หรือหลักวิชาการต่างๆ ที่นำมาใช้ พร้อมอธิบายความหมายโดยย่อ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับโครงงาน อย่างสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล)
๔.๔    ประเมินผลการดำเนินงาน (แสดงหรืออธิบายเหตุผลว่า ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงงานหรือไม่ เพียงใด เพราะเหตุใด และ/หรือแสดงสถิติประกอบ(ถ้ามี))
๔.๕    การประเมินตนเอง (สมาชิกกลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงานทุกคน แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่อการพัฒนาตนเอง หรือความประทับใจต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ระหว่างการดำเนินการโครงงาน)
๔.๖    การประเมินและวิจารณ์โดยผู้อื่น (แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ คำวิจารณ์ และข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศึกษา อาจารย์และพระสงฆ์ที่ปรึกษาโครงงาน ๓ ท่าน และ/หรือ บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องอีกไม่เกิน ๕ คน เช่น ผู้ปกครอง, เพื่อนนักเรียนคนอื่นที่ไม่ได้เป็นสมาชิกกลุ่ม, คนในชุมชน)
(๙)    บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ
๕.๑    สรุปผลการดำเนินการโครงงาน (อธิบายสรุปภาพรวมของโครงงานทั้งหมดเชื่อมโยงสู่กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาคุณธรรมตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงงานคุณธรรม)
๕.๒    แผนการดำเนินงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ (แผนการดำเนินงานในภาคการศึกษาต่อไป) 
(๑๐) เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)
(๑๑) ภาคผนวก (ถ้ามี)
๒.     สรุปย่อโครงงาน ใน ๑ หน้ากระดาษ  และสรุปรูปภาพโครงงาน ใน ๑ หน้ากระดาษ
สรุปย่อโครงงานทั้งหมดและรูปภาพประกอบลงใน ๒ หน้ากระดาษขนาด A4 ตามตัวอย่างในหน้าที่ ๒๒
๓.     แผ่นพับ (Brochure) สรุปโครงงาน
สรุปโครงงานทั้งหมดลงใน ๑ แผ่นกระดาษขนาด A4 ที่พับ ๓ ส่วน ที่พิมพ์ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง โดยออกแบบและพิจารณาเลือกเนื้อหา รูปภาพ ตารางหรือแผนภูมิประกอบ ให้สวยงามสำหรับเผยแพร่
๔.     สื่อ Presentation ทางคอมพิวเตอร์หรือ VCD นำเสนอโครงงาน
เล่าเรื่องแสดงภาพรวมและเจาะประเด็นสำคัญของโครงงานลงในสื่อ Presentation ทางคอมพิวเตอร์ในระยะเวลาไม่เกิน ๗ นาที โดยสามารถจัดทำเป็นภาพเคลื่อนไหววีดิทัศน์ (VCD) หรือ เป็นแผนภาพการนำเสนอ ด้วยโปรแกรมจำพวก presentation เช่น Powerpoint ก็ได้
๕.     แผ่นป้าย (Board) นิทรรศการโครงงาน
แสดงภาพรวมและสรุปสาระสำคัญของโครงงานทั้งหมด ได้แก่ ชื่อโครงงาน สถานศึกษา รายชื่อที่ปรึกษาและกลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน บทคัดย่อ ผังมโนทัศน์ วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ข้อมูลสถิติ การประเมินผลสรุปผล เป็นต้น โดยมุ่งเน้นการจัดแสดงเป็น แผนผัง แผนภูมิ รูปภาพ ตาราง สัญลักษณ์ ฯลฯ ที่ทำให้ผู้ชมเข้าใจได้โดยไว โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และเทคนิคทางศิลปะมาช่วยนำเสนอให้เกิดการสื่อความได้ง่าย ชัดเจน และน่าสนใจ  โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
สรุปย่อโครงงานใน ๑ หน้ากระดาษ
โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ  ประจำปีการศึกษา  ๒๕๕๒  ระดับมัธยมศึกษา
โครงงาน " เด็กดี   V  STAR "
(GOOD   and  Smoking, Make Homesweet  and  Unanimity to Pay His Majesty' s Loyalty)
โดยเยาวชนกลุ่ม   "ทำดีไม่ต้องเดี๋ยว"    โรงเรียนบ้านงิ้ว   ตำบลบ้านกอก  อำเภอจัตุรัส  จังหวัดชัยภูมิ
สพท. ชัยภูมิ   เขต ๓
หลักธรรมสำคัญ  :  สุวิชาโน  ภะวังโหตุ   ผู้รู้ดี  ย่อมมีปัญญา
พระราชดำริ / พระราชดำรัส  :  บวร ( บ้าน  วัด  โรงเรียน ) และ เศรษฐกิจพอเพียง ( การสร้างภูมิคุ้มกัน)
ประเด็นปัญหาหลัก :  คนทำความดีมีน้อย  โดยเฉพาะเด็ก ๆ นักเรียนบางคน  แอบสูบบุหรี่  และมีพี่นักเรียนมัธยมบางคนชอบดื่มสุราตอน  ทำเป็นตัวอย่างไม่ดี  เมื่อได้ไปที่วัดพระธรรมกายแล้ว  เห็นพี่  วีไกด์   น่ารัก  อยากทำดี  ตาม  จึงได้ช่วยกันทำความดี  เมื่อทำดีแล้วเกิดความภาคภูมิ ใจ  จึงได้บอกเพื่อน ๆ ให้มาทำความดี เพื่อเป็นตัวอย่างต่อไป
กลุ่มเป้าหมาย  :  นักเรียนโรงเรียนบ้านงิ้ว  และชุมชนบ้านงิ้ว  หมู่ที่  4  บ้านโนนตะโก  หมู่ที่  10
กิจกรรมเด่น :   คณะกรรมการโครงงานฯได้สานต่อกิจกรรมในภาคเรียนที่ ๑ ประกอบด้วย กิจกรรม "ทำดีไม่ต้องเดี๋ยว
กิจกรรม "กระบอกเสียงแห่งธรรม"  กิจกรรม "ธนาคารความดี  กิจกรรม " กิจกรรมอวยพรวันเกิด"      และ ( ๔) กิจกรรม " สานสายใยครู   สู่รั้วบ้าน"    กิจกรรมเหล่านี้เป็นกิจกรรมที่มุ่งการติดตามการทำความดีและนำความดีไปสู่ชุมชน อีกทั้งได้โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากครูประจำชั้น   ผู้ปกครอง     และทุกฝ่ายในชุมชน
ผลที่เกิดขึ้น  :  นักเรียนมีค่านิยมในการทำความดี จากการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย  ตามแนวพระราชดำริบวรและหลักพุทธวิถี    และสรุปพบว่า นักเรียนโรงเรียนบ้านงิ้วมีการทำดีมากขึ้น  เก็บของได้ ก็นำมาแจ้งหน้าเสาธง  มีการยกยอ่ง คนทำดี  จัดกิจกรรมวันเกิดให้นักเรียนทุกคน 
กลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน :
๑. เด็กหญิง  ฤทัยรัตน์  ครุฑแก้ว    ป.๕     ประธาน
๒.เด็กหญิง  ปาณิศา  ชวดชัยภูมิ    ป.๕          รองประธาน
๓.เด็กหญิง  ไอริน  กลัดงิ้ว    ป.๕     รองประธาน
๔.เด็กหญิง  อภัสรา  โชติราษี    ป.๕           เลขานุการ
๕.เด็กหญิง  พรพรรณ  ศรีแย้ม    ป.๔     เหรัญญิก
๖.เด็กหญิง  อุไรลักษณ์  บุญเชิด    ป.๔     เหรัญญิก
๗.เด็กหญิง  ฤทัยรัตน์  ครุฑแก้ว    ป.๔     ประชาสัมพันธ์
๘.เด็กหญิง  อัญชณากร  เอี่ยมนัยตา    ป.๔     ประชาสัมพันธ์
๙. เด็กชาย  ภีรภัทร  เหล็กมา    ป.๔     สวัสดิการ
๑๐. เด็กชาย  นพณัฐ  เขียนจัตุรัส    ป.๔     สวัสดิการ    พระสงฆ์ที่ปรึกษา : พระครูมนูญปัญญาภินันท์
เจ้าอาวาสวัดเลียบน้ำไหล  บ้านงิ้ว
ผู้บริหารที่ปรึกษา  : นายมณีแสง  นามอินทร์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านงิ้ว
ครูที่ปรึกษา : นายวสันต์  เกิดสิน
                       กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษไทย
    จำนวนครู  ๑๖ คน   จำนวนนักเรียน ๒๑๔ คน แยกเป็น  อนุบาล      ๕๒   คน ช่วงชั้นที่ ๑  รวม ๕๒คน    
ช่วงชั้นที่ ๒ รวม ๖๐ คน  ช่วงชั้นที่ ๓ รวม ๕๒ คน

ติดต่อ  ครูวสันต์  เกิดสิน  โทร.
สนับสนุนโดย                            -  กลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสร้างเครือข่ายวิถีพุทธ  (กคพ.)
-  ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม  (ศูนย์คุณธรรม)
-  สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)  (โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ)
ผังสรุปมโนทัศน์โครงงานคุณธรรม  แบบตารางวิเคราะห์คำถาม ๕ ข้อ (ปัญหา-สาเหตุ-เป้าหมาย-ทางแก้-หลักธรรม/พระราชดำริ)
ชื่อโครงงาน: "เด็กดี  V  STAR   กลุ่ม: ทำดีไม่ต้องเดี๋ยว  โรงเรียน: บ้านงิ้ว
(๑) ปัญหา
-     (๓) เป้าหมาย
(๒) สาเหตุ
ปัจจัยภายใน
นร.มีความหลงผิด, ค่านิยมผิดตามเพื่อน,
นร.ขาดความรู้ ขาดความตระหนัก ในการทำความดี
นร.ขาดธรรมะเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในจิตใจ ไม่ค่อยเข้าวัด-ปฏิบัติธรรม
ปัจจัยภายนอก
อิทธิพลเพื่อนกลุ่มเสี่ยง ชักชวน และสร้างค่านิยมผิดๆ
ครอบครัวไม่ค่อยดูแล เอาใจใส่ ขาดความเข้าใจในวัยรุ่น
ผู้ปกครอง/คนในชุมชน เป็นแบบอย่างไม่ดี
โรงเรียน วัด ชุมชน ไม่มีพื้นที่หรือให้โอกาสวัยรุ่นใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ หรือมีไม่พอ    (๔) ทางแก้
(๕) หลักธรรม
พระราชดำริ/พระราชดำรัส ที่อัญเชิญมาใช้: ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (พอประมาณ, มีเหตุผล, มีภูมิคุ้มกัน)
Free Web Hosting